เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นจากการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อต่อเข้าด้วยกัน
โดยกใช้สื่อนำสัญญาณข้อมูล เช่น สายโทรศัพท์ สายเเลน อินฟราเรด บูลทูธ ดาวเทียม
การโมเด็มมีสองประเภท คือ ติดตั้งภายใน และ ภายนอก
เครือข่ายดิจิตอลความเร็วสูงในโทรศัพท์
ในญี่ปุ่นจะส่งสัญญาณใน ๓ แบบ
ในรูป รูปภาพ,เสียง,อินเตอร์เน็ต
Lan card = Elternal Card
Telephone Line -----> Digital
Gateway = Defaulf
การหา ID address
128 64 32 16 8 4 2 1 จำและเอาไปแทนที่
0000 0000 = 0
1111 1111 = 255
x.x.x.x
0.255 . 0.255 . 0.255 . 0.255
วันพฤหัสบดีที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2551
วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
ซอฟร์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
(Application Software)
แบ่งได้สองประเภทหลักๆ คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) และ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
โดยซอฟต์แวร์ระบบเป็นตัวที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในคอมพิวเตอร์และทำหน้าที่ในการติดต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับผู้ใช้
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นมาเพื่อการใช้งานเฉพาะด้าน แบ่งได้ 4 ประเภท
- การใช้งานด้านธุรกิจ
- การใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
- การช้างานส่วนตัว
- การใช้งานเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร
ประเภทการใช้งานซอฟต์แวร์ประยุกต์
1. ซอฟต์แวร์ประมวลคำ (Word Processing)
เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สำหรับการพิมพ์เอกสาร แก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และ จัดรูปแบบเอกสารได้ดี สามรถนำมาเรียกพิมพ์แก้ไขใหม่ได้ ซอฟต์แวร์ที่ประมวลคำที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น ไมโครซอฟต์เวิร์ด
2. ซอฟต์แวร์ตารางทำงานหรือตารางอิเล็กทรอนิกส์ (Spread sheet)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการคำนวณที่ซับซ้อน มีหลักการเหมือนโต๊ะทำงานที่มีกระดาษทดขนาดใหญ่ มีเครื่องมือ ปากกา ยางลบ และเครื่องคำนวณไว้ให้
3. ซอฟต์แวร์การจัดการฐานข้อมูล (Database Management)
เป็นซอฟต์แวร์สำหรับการเก็บข้อมูล ทำหน้าที่จัดการในการเก็บ การเรียกค้นขึ้นมาใช้งาน การทำรายงาน สรุปผล ซอฟต์แวร์การจัดการฐานที่นิยมคือ ไมโครซอฟต์เอกเซส
4. ซอฟต์แวร์นำเสนอ (Presentation Software)
เป็นซอฟต์แวร์ใช้สำหรับ การนำเสนอผลงาน สื่อความหมายได้ง่าย เช่น สร้างแผนภูมิ กราฟ และแทรกรูปภาพได้ เช่น ไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์
5. ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ (CAD:Computer-Aided Design)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ด้าน วิศวกรรม ออกแบบ สถาปัตยกรรม ออกแบบชิ้นส่วน อะไหล่ต่างๆ ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้คือ AutoCAD เป็นต้น
6. Desktop Publishing (DTP) เป็นซอฟต์แวร์การจัดหน้าเอกสารและการพิมพ์ สามารถออกแบบโครงร่างหน้าเอกสาร ประกอบด้วยข้อความ (text) และกราฟิก รูปภาพ สามารถพิมพ์ออกมาได้
7. ซอฟต์แวร์สำหรับการตกแต่งรูปภาพ (image Edition software)
เกี่ยวกับการจัดตกแต่งรูปภาพหรือเรียกว่า เอฟเฟ็ก เช่น ฟังก์ชั่นการทำเบลอ ชัด การแสงให้ภาพ ได้แก่ Adobe Photoshop,Corel Painter
8. CAI (Computer-Assisted Instruction) เป็นซอฟต์แวร์ใช้การศึกษาในการเพิ่มประสิทธิภาพการรับรู้ของผู้เรียน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวนำเสนอ โดยนำเนื้อหาและลำดับวิธีการสอนมาบันทึกเก็บไว้ และนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม มีเครื่องมือใช้ในการสร้างซอฟต์แวร์ CAI หลายๆเครื่องมือประกอบกัน เช่น Authorware,Toolbook เป็นต้น
9. Web Page Authoring เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการสร้างหน้าเว็บ อำนวยความสะดวกในการจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ และ ออกแบบหน้าเว็บเพจ ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้คือ Macromedia Dream Weaver
10. ซอฟต์แวร์เกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล(Communication Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการติดต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในระบบเครือข่าย เพื่อใช้ในการส่งข้อมูลในลักษณะต่างๆ เช่น การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การประชุมออนไลน์ โปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ เว็บบราวเซอร์ เช่น Internet Explorer,Netscape,Opera โปรแกรมส่งข้อความเช่น MSN.IRC.ICQ,Pirch และ AOL
(Application Software)
แบ่งได้สองประเภทหลักๆ คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) และ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
โดยซอฟต์แวร์ระบบเป็นตัวที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในคอมพิวเตอร์และทำหน้าที่ในการติดต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับผู้ใช้
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นมาเพื่อการใช้งานเฉพาะด้าน แบ่งได้ 4 ประเภท
- การใช้งานด้านธุรกิจ
- การใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
- การช้างานส่วนตัว
- การใช้งานเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร
ประเภทการใช้งานซอฟต์แวร์ประยุกต์
1. ซอฟต์แวร์ประมวลคำ (Word Processing)
เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สำหรับการพิมพ์เอกสาร แก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และ จัดรูปแบบเอกสารได้ดี สามรถนำมาเรียกพิมพ์แก้ไขใหม่ได้ ซอฟต์แวร์ที่ประมวลคำที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น ไมโครซอฟต์เวิร์ด
2. ซอฟต์แวร์ตารางทำงานหรือตารางอิเล็กทรอนิกส์ (Spread sheet)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการคำนวณที่ซับซ้อน มีหลักการเหมือนโต๊ะทำงานที่มีกระดาษทดขนาดใหญ่ มีเครื่องมือ ปากกา ยางลบ และเครื่องคำนวณไว้ให้
3. ซอฟต์แวร์การจัดการฐานข้อมูล (Database Management)
เป็นซอฟต์แวร์สำหรับการเก็บข้อมูล ทำหน้าที่จัดการในการเก็บ การเรียกค้นขึ้นมาใช้งาน การทำรายงาน สรุปผล ซอฟต์แวร์การจัดการฐานที่นิยมคือ ไมโครซอฟต์เอกเซส
4. ซอฟต์แวร์นำเสนอ (Presentation Software)
เป็นซอฟต์แวร์ใช้สำหรับ การนำเสนอผลงาน สื่อความหมายได้ง่าย เช่น สร้างแผนภูมิ กราฟ และแทรกรูปภาพได้ เช่น ไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์
5. ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ (CAD:Computer-Aided Design)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ด้าน วิศวกรรม ออกแบบ สถาปัตยกรรม ออกแบบชิ้นส่วน อะไหล่ต่างๆ ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้คือ AutoCAD เป็นต้น
6. Desktop Publishing (DTP) เป็นซอฟต์แวร์การจัดหน้าเอกสารและการพิมพ์ สามารถออกแบบโครงร่างหน้าเอกสาร ประกอบด้วยข้อความ (text) และกราฟิก รูปภาพ สามารถพิมพ์ออกมาได้
7. ซอฟต์แวร์สำหรับการตกแต่งรูปภาพ (image Edition software)
เกี่ยวกับการจัดตกแต่งรูปภาพหรือเรียกว่า เอฟเฟ็ก เช่น ฟังก์ชั่นการทำเบลอ ชัด การแสงให้ภาพ ได้แก่ Adobe Photoshop,Corel Painter
8. CAI (Computer-Assisted Instruction) เป็นซอฟต์แวร์ใช้การศึกษาในการเพิ่มประสิทธิภาพการรับรู้ของผู้เรียน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวนำเสนอ โดยนำเนื้อหาและลำดับวิธีการสอนมาบันทึกเก็บไว้ และนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม มีเครื่องมือใช้ในการสร้างซอฟต์แวร์ CAI หลายๆเครื่องมือประกอบกัน เช่น Authorware,Toolbook เป็นต้น
9. Web Page Authoring เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการสร้างหน้าเว็บ อำนวยความสะดวกในการจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ และ ออกแบบหน้าเว็บเพจ ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้คือ Macromedia Dream Weaver
10. ซอฟต์แวร์เกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล(Communication Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการติดต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในระบบเครือข่าย เพื่อใช้ในการส่งข้อมูลในลักษณะต่างๆ เช่น การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การประชุมออนไลน์ โปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ เว็บบราวเซอร์ เช่น Internet Explorer,Netscape,Opera โปรแกรมส่งข้อความเช่น MSN.IRC.ICQ,Pirch และ AOL
วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2551
เนื้อหาที่เรียน
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้าง ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สำคัญคือ
๑. หน่วยประมวลผลกลาง
๒. หน่วยความจำหลัก
๓. หน่วยรับข้อมูล
๔. หน่วยแสดงผล
๕. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
๑.หน่วยประมวลผลกลาง เสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการสั่งงาน ควบคุมให้ส่วนอื่นๆทำงานตามคำสั่งที่ได้รับ ซีพียู ประกอบด้วย หน่วยควบคุมและหน่วยคำนวณ และในปัจจุบันมีผู้ย่อหน่วยนี้บนแผ่นวงจรเล็กๆ และเรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ หาก ซีพียู ทำงานได้เร็วเท่าไหร่ ก็จะทำให้คอมเครื่องนั้นมีความเร็วสูงด้วย
๒.หน่วยความจำหลัก เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ จำข้อมูลหรือคำสั่งทั้งก่อนและหลังการประมวลผล การออกแบบ ซีพียู จะประมวลผลข้อมูลหรือคำสั่งที่อยู่ใน เมมโมรี่ เท่านั้น และต้องถูกนำมาไว้ในหน่วยความจำก่อนเสมอ
๓.หน่วยความจำสำรอง มีหน่าที่ จำข้อมูลหรือคำสั่งได้ เหมือนกับ เมมโมรี่ แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยงสามารถจำข้อมูลได้แม้ปิดเครื่องคอมฯมีขนาดในการเก็บข้อมูลใหญ่กว่าเมมโมรี่
๔.หน่วยรับข้อมูล ทำหน้าที่รับข้อมูลในรูปแบบของคำสั่งที่เป็นตัวอักษรภาพ เสียง ให้เป็นสัญญาณดิจิตอลที่เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จัก และสามสรถนำข้อมูลนั้นไปประมวลผลได้ เช่น เม้าส์ คีย์บอร์ด
๕.หน่วยแสดงผล ทำหน้าที่ส่งข้อมูลที่เป็นสัญญาณดิจิตอลที่ถูกประมวลผลแล้วไปแสดงผลให้ผู้ใช้เป็นตัวอักษรภาพ หรือเสียง เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ ลำโพง
๑. หน่วยประมวลผลกลาง
๒. หน่วยความจำหลัก
๓. หน่วยรับข้อมูล
๔. หน่วยแสดงผล
๕. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
๑.หน่วยประมวลผลกลาง เสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการสั่งงาน ควบคุมให้ส่วนอื่นๆทำงานตามคำสั่งที่ได้รับ ซีพียู ประกอบด้วย หน่วยควบคุมและหน่วยคำนวณ และในปัจจุบันมีผู้ย่อหน่วยนี้บนแผ่นวงจรเล็กๆ และเรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ หาก ซีพียู ทำงานได้เร็วเท่าไหร่ ก็จะทำให้คอมเครื่องนั้นมีความเร็วสูงด้วย
๒.หน่วยความจำหลัก เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ จำข้อมูลหรือคำสั่งทั้งก่อนและหลังการประมวลผล การออกแบบ ซีพียู จะประมวลผลข้อมูลหรือคำสั่งที่อยู่ใน เมมโมรี่ เท่านั้น และต้องถูกนำมาไว้ในหน่วยความจำก่อนเสมอ
๓.หน่วยความจำสำรอง มีหน่าที่ จำข้อมูลหรือคำสั่งได้ เหมือนกับ เมมโมรี่ แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยงสามารถจำข้อมูลได้แม้ปิดเครื่องคอมฯมีขนาดในการเก็บข้อมูลใหญ่กว่าเมมโมรี่
๔.หน่วยรับข้อมูล ทำหน้าที่รับข้อมูลในรูปแบบของคำสั่งที่เป็นตัวอักษรภาพ เสียง ให้เป็นสัญญาณดิจิตอลที่เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จัก และสามสรถนำข้อมูลนั้นไปประมวลผลได้ เช่น เม้าส์ คีย์บอร์ด
๕.หน่วยแสดงผล ทำหน้าที่ส่งข้อมูลที่เป็นสัญญาณดิจิตอลที่ถูกประมวลผลแล้วไปแสดงผลให้ผู้ใช้เป็นตัวอักษรภาพ หรือเสียง เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ ลำโพง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)